Eco Community Tower

Eco Community Tower

BY: ADMIN | JANUARY - 18 - 2010
Green Skyscrapers
In the next few days we will showcase 25 innovative proposals for green skyscrapers. These projects were submitted for the Annual Skyscraper Competition from 2006 to 2009.
Project 13 of 25
James Kerestes, Juliet LeeUnited States

Eco Community
Eco Community

The commercial district of Philadelphia is located between 30th Street Station, the city’s major transport hub, and City Hall. The zone encompasses at least 25 city blocks of active commercial businesses and hotels. What this area lacks is a sustained urban community where permanent residents and commuters can interact, a destination point within this dense urban fabric. Therefore, this proposal is for the design of 580 feet-tall mixed-use tower located at 18th Street and Arch Street. The site will be indicative of integrating the densities of people, culture, activity, commerce, and the environment built form.
Eco Community tower is a departure from the prototypical Philadelphia high-rise; heavy and opaque rectilinear boxes with highly fixed programs. Eco Community was designed with environmental constraints, such as sunlight and winds. The envelope is a registry of the southwest winds, sun exposure and optimal ventilation. It can be programmed in a variety of ways, for private and public functions. The resulting structure promotes interaction between the city’s various community at all urban levels.
From fluid dynamic CAD simulations the design components were developed as interchangeable geometries. The customization of these stackable components depends on the current city’s needs, allowing a flexible building that adapts to a dynamic urban community.

Eco Community - 1
Eco Community - 1

Eco Community

Latest Bridge Design: Nanhe River Bridge

วันนี้ได้งานออกแบบทางเชื่อมอาคารออฟฟิตสำนักงาน ก็เลยลองเสิร์จหาข้อมูลในเวป ดันไปสะดุดสะพานสีแดง อันนี้มา เป็นงานประกวดแบบ Nanhe  ในประเทศจีน งามดีจริงๆ^^
Nanhe River Landscape Bridge

 สตูดิโอนิวยอร์ก WXY ได้รางวัลชนะเลิศการแข่งขันการสร้างสะพานข้ามแม่น้ำ Nanhe ภูมิทัศน์ใน Xinjin County, 

 "Xinjin เป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่ได้ดึงดูดชาวบ้านจำนวนมากและผู้เข้าชมมากกว่าปีที่ผ่านมา มันเป็นศูนย์กลางทางภูมิศาสตร์ที่ห้าแม่น้ำมาบรรจบกันและสำหรับศตวรรษที่กวีมีที่ยกย่องความงามตามธรรมชาติของมัน การออกแบบของเราดึงแรงบันดาลใจจากภูมิทัศน์อันน่าทึ่งของ Xinjin และประวัติศาสตร์ทางวัฒนธรรมที่หลากหลายและสะท้อนให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองของเมืองที่ทันสมัย. "
Nanhe River Landscape Bridge
Nanhe River Landscape Bridge
Nanhe River Landscape Bridge
Nanhe River Landscape Bridge
Nanhe River Landscape Bridge
Nanhe River Landscape Bridge
Nanhe River Landscape Bridge
Nanhe River Landscape Bridge



Observation Tower on the River Mur

เจออะไรน่าสนใจระหว่างหาข้อมูลอีกแล้ว  (ไม่มีเวลาแปล ไปทำงานก่อน^^)

งานนี้เป็น หอสังเกตการณ์ริมแม่น้ำ Mur ที่ชายแดนออสเตรียกับสโลวีเนีย
โดย Munich office terrain:loenhart&mayr

Observation Tower on the River Mur by terrain loenhart mayr

Observation Tower on the River Mur by terrain loenhart mayr
บันไดอลูมิเนียมโครงสร้างaluminium-clad รูปเกลียวคู่เพื่อให้ผู้เข้าชมที่อยู่บนทางขึ้นผ่านผู้ที่อยู่ในทางลง
Observation Tower on the River Mur by terrain loenhart mayr
Here’s some more information, written by Lilli Hollein:

Up There All Treetops Are Still
A society that generally focuses on results tends to lose its sense for gradual emergence and for the discoveries one can make during processes and journeys to a destination. Already 2,500 years ago, Confucius had written: “The journey is the reward.” Some might consider that a nice way of skirting around disorientation, but is it worthwhile to be rushed off one’s feet?
Architecture is a wonderful means of representing, imposing, or arousing states of human nature. The concept of the recently completed Murturm by the architects Klaus K. Loenhart and Christoph Mayr then involves not only the elation of having reached the top, but also the enjoyment of the stages on the way there.
A deliberate foreign object made of steel and aluminum rises from the riparian forest in Southern Styria: a somewhat geometrical observation tower that nevertheless fits into the landscape as naturally as a harmonic counterpoint.
Observation Tower on the River Mur by terrain loenhart mayr
The border to Slovenia is marked by the Mur river in this part of Southern Styria, near Bad Radkersburg. Once a public-excluded security zone along the former Iron Curtain, the area became a de-facto nature reserve and is now part of the European Green Belt. Today, the view of the opposite river bank is relaxed, and both countries join forces to renaturate the course of the river and the pasture landscape.
Supported by Naturschutzbund Deutschland [German Nature and Biodiversity Conservation Union], the tower was originally only meant to mark the European Green Belt. In fact, however, it has become an architectural sculpture and a lookout that offers a panoramic view of the landscape.
Climbing up the 168 steps, one follows one’s own path, and yet one is drawn in by the landscape that can be observed from different heights and by the eyes of those one inevitably meets, because two intertwined stairwells wind up into the sky. At the highest point of this significant visual anchor, at a height of 27 meters, one finally realizes that the path never ends. The doubling of the ascent and descent and the three-dimensional interweaving bring forth the vis-à-vis.
Observation Tower on the River Mur by terrain loenhart mayr
The double spiral staircase with its opposed flights of up and down steps has a famous forerunner nearby: ever since 1499, it has been witness to the eagerness of Friedrich III of Habsburg to experiment and to the brilliant architectural design of his castle in Graz. The special three-dimensional experience it creates has made the castle a place of pilgrimage for architects. Among them was Klaus Loenhart, Director of the Institut für Architektur und Landschaft at Graz University of Technology. Impressed and inspired, he and his colleague Christoph Mayr managed to transfer the poetry of this historical location into nature.
The supporting structure of the observation tower is designed like a tree. The lower part corresponds with the trunk, whereas the steel structure made of thinned-out tubes represents the more delicate branches up above. The tower was certainly an engineering challenge for the Office for Structural Design in Frankfurt. It is all the more surprising to feel the edifice, which looks amazingly massive and multi-braced, softly sway as one climbs the stairs. Seen from down below, one first notices the elegant nodal points of the structure. The steel girder joints result in a sophisticated and skillfully designed geometry that exhibits the three-dimensionality of the tower.
Depending on the weather and time of day, the wonderful gleam of the aluminum-clad stair balustrade continuously changes the appearance of the edifice. The beveled aluminum boards create a body and a play of surfaces without destroying the translucence. The flowing element of the recessed river bed and the piled-up flotsam is mirrored by the tower, which emerges from the topography with the same softness and precision.
Observation Tower on the River Mur by terrain loenhart mayr
With this project in an unspoilt countryside that belongs to the European Green Belt biotope compound system, terrain:loenhart&mayr have set an example that puts nature in the limelight in two different ways. First, visitors enjoy rotating views of the surrounding landscape as they walk up and down the continuous spiral stairs. Their attention is directed both inward and outward. From a distance, the silhouette of the tower is interwoven with the landscape, but the watchful steps of those who climb up the stairs define a sensed inner space.
Second, the sculptural edifice itself explores the essence of nature, the double helix structure along which DNA components are stringed in parallel turns. It does not take a microscope to see that organic forms are often impressive compositions of curves and edges, of geometry and free, unlimited escalation.
Not mountain summits, as Goethe wrote, but the treetops of the wonderful riparian forest along the banks of the Mur river near Gosdorf unfold before the eyes of those who climb all the way up the tower. And yet, up there all is still. This is a place to pause for those who have come to the tower by bike, on their early morning jog or their Sunday walk. It is also a place that was quickly taken over by locals and—especially biking—tourists alike. One of the reasons for the public identification with the project is that the members of the surrounding communities were able to participate by making donations. Now, they visit the tower as if it were an old friend, they proudly read their own name on a plate, and again and again, they come to the same spot to take in the changing moods of the surrounding nature in all seasons. At the same time, they can watch the progress and efforts in renaturating this unique pasture landscape, in which terrain:loenhart&mayr are also taking part. Here, Styria has found its landmark. While Graz has its Uhrturm, Gosdorf now has its Murturm. The contemporary contribution has won the architectural competition.
Observation Tower on the River Mur by terrain loenhart mayr
Client: Gemeinde Gosdorf Orts- und Infrastrukturentwicklungs KG
Design + planning of observation tower and exteriors: terrain:loenhart&mayr architects and landscape architects, Munich/Graz
Structural planning: osd – office for structural design, Frankfurt
Construction period: March – September 2009
Opening: 20 March 2010

http://www.dezeen.com/2010/07/24/observation-tower-on-the-river-mur-by-terrainloenhartmayr/

Dynamic Facade Design

นนี้กำลังนั่งหาวิธีทำป้ายหน้าบ้านคุณพี่ท่านหนึ่งก็ไปเจออะไรดีๆ เข้า

Dynamic Facade Design

dynamic facade technology
by pleatfarmer on January 18, 2010
Just discovered this awesome dynamic facade design. Called the Kiefer Technic Showroom, it is an automated facade control system designed by the Austrian architectural office Giselbrecht + Partner.

YouTube Preview Image
The dynamic system consists of metal panels that fold up and down, and the automation allows for these panels to be operated based on user comfort.




images taken via youtube video Dynamic facade “Kiefer technic showroom”

เป็นอะไรที่ดูเก๋มากเลยนะ คือเราสามารถที่จะเลื่อน แผงบังแดดลงมาปิดทั้งหมดหรือจะเปิดไว้ให้มันเป็นแค่กันสาดก็ได้ ซึ่งมาเป็นอะไรที่ ดูดีและน่าจะเหมาะกับเมืองไทยที่แดดแรงมว๊ากกก แบบนี้ได้ ส่วนราคานั้น ไม่แน่ใจนะว่าจะอยู่ที่เท่าไร่ ^^ 

ที่มา http://www.google.co.th/imgres?imgurl=http://www.pleatfarm.com/wp-content/uploads/2010/01/dynamic-kinetic-facade-06.jpg&imgrefurl=http://www.pleatfarm.com/2010/01/18/dynamic-facade-design-kiefer-technic-showroom/&usg=__HASqlM4eGDh94fBXCI1jBXsQir0=&h=362&w=639&sz=67&hl=th&start=79&sig2=IX0gU-wMmkiaH-y__1axrA&zoom=1&tbnid=qwDlpgi-AtFFyM:&tbnh=78&tbnw=137&ei=WFdnT-quEdDyrQfH09G9Bw&prev=/search%3Fq%3Dfacade%2Bdesign%26start%3D63%26um%3D1%26hl%3Dth%26client%3Dfirefox-a%26sa%3DN%26rls%3Dorg.mozilla:en-US:official%26tbm%3Disch&um=1&itbs=1 

หมู่เกาะสุรินทร์

วันที่เดินทางคือเย็นวันที่ 6 และกลับคืนวันที่ 8 ธ.ค. 58

ปีนี้ตั้งใจจะไป หมู่เกาะสุรินทร์ และเกาะตาชัย
เหตุผลที่จัดมาไว้ในทริปเดียวกัน เพราะดูในแผนที่ เกาะตาชัยมันอยู่ใกล้หมู่เกาะสุรินทร์ (ตรรกะอะไรของช้านนน) และก็เริ่มต้นหาทัวร์ที่ไปทั้งสองที่ซึ่งมีสองทางเลือกหลักๆ คือ เดย์ทริป กับ ทริปค้างเกาะสองคืน หรือสามคืน เราก็ตัดสินใจค้างเกาะ จะได้ไม่ต้องนั่งเรือกลับไปกลับมา  สรุปทัวร์ที่ซื้อมาจะเป็น สุรินทร์-ตาชัย 3 วัน 2 คืน

ต่อมาเรื่องการเดินทาง ก็มีสองแบบที่เราเล็งไว้คือ ไปกลับ เครื่องบิน ลงสนามบินภูเก็ต ซึ่งต้องไปถึงก่อนวันนึง เพื่อที่เช้าวันรุ่งขึ้นจะออกทะเลไปเกาะ (ซึ่งทัวร์จะมารับตั้งแต่ตีสี่ o_O) ถ้าเลือกแบบนี้จะต้องหาโรงแรมค้างแถวสนามบินด้วย
หรือ ไปรถทัวร์ คือนอนบนรถแล้วมาตื่นเช้าที่ อ.คุระบุรี ขากลับ กลับเครื่องบิน

แต่ต้องบอกไว้ก่อนว่าทางเลือกที่สองมันโผล่มาเพราะ เราไม่สามารถจองโปรหางแดงในราคาที่ถูกสุดๆได้ (อันนีนอยมากเพราะจะจองตั้งแต่วันแรกที่มีโปร แต่คุณแฟนไม่ตัดสินใจว่าจะไปหรือไม่ ><)

สรุปคือไปรถทัวร์และกลับเครื่องบินรอบดึก (ทัวร์เน้นมาว่าให้จองเลยสามทุ่มเดี๋ยวมาส่งไม่ทัน)

ออกเดินทางคะประมาณ 1 ทุ่ม ของวันที่ 5  เดินทางไปกับลิกไนท์ทัวร์ เบาะใหญ่นั่งสบายมาก หลับปุ๋ยเลย (ไม่น่าเชื่อ!!) ถึง บขส.อ.คุระบุรี ประมาณตี 5 รอซักพักทัวร์เอารถสองแถวมารับ

 เริ่มต้นเที่ยววันแรก
ไปถึงเป็นวันที่ 6 คนเที่ยวน้อย บขส. วังเวงมากๆ  จนไม่มีอารมณ์ถ่ายรูป

ถึงสำนักงานของทัวร์ ที่ด้านหลังมีห้องอาบน้ำไว้บริการ และมีอาหารเช้าเล็กๆน้อย  ที่นี่มีให้เช่าทุกอย่าง ตั้งแต่เต็นท์ ที่นอน พัดลม สำหรับนักท่องเที่ยวที่ไม่ซื้อแพคเกจ
เราซื้อแพคเกจมา เขาก็จะมีชูชีพ กับสน็อคเกิล ให้เลย
สำนักงานทัวร์
วันแรกเราจะได้แวะดำน้ำและดูปูไข่ที่เกาะตาชัยก่อน ที่จริงในโปรแกรมเราจะมุ่งหน้าไปหมู่เกาะสุรินทร์ และมาตาชัยในวันที่ 2  แต่นักท่องเที่ยวน้อย เขาจึงเอามาไว้วันแรก รวมกับนักท่องเที่ยวที่มาถึงตั้งแต่วันก่อน (ซึ่งจริงๆ มาแบบนี้ดีกว่าเอาตาชัยไว้วันที่ 2 นะ เพราะอีกสองวันที่เหลือก็จะได้เที่ยวรอบๆ หมู่เกาะ ไม่ต้องนั่งเรือใหญ่ออกมาอีก)

หน้าตาเรือที่มาส่งเราที่เกาะ จอดแวะที่เกาะตาชัย
แสงสลัวๆ ใต้ทะเล บริเวณเกาะตาชัย

เรือออกประมาณ 8 โมง
วันแรกนี่เมาเรือมากๆ กลิ่นน้ำมันฉุนจัด คลื่นเยอะ อากาศอบอ้าว ค่อนข้างทรมาน

เอาภาพใต้น้ำมาฝาก ประสิทธิภาพของกล้องคอมแพค+ซองกันน้ำ ก็ถ่ายมาได้เท่านี้หละ ><

รูปนี้ถ่ายน้องปลามาได้ชัดสุดละ ><
ไอ้ที่เห็นเป็นเศษๆ นั่นคือฝูงปลานะจ้ะ ไม่ใช่เศษใบไม้
ประมาณเที่ยงๆ ขึ้นฝั่งที่เกาะตาชัย ทานอาหารกลางวัน 
ช่วงที่เราไปเขาไม่อนุญาติให้ทัวร์จัดอาหารบุฟเฟ่ต์บนเกาะแล้ว จึงได้เป็นข้าวกล่อง ซึ่งแต่ละทัวร์ก็จะมีกล่องคนละแบบแล้วแต่ไอเดีย มีทัวร์นึงเป็นปิ่นโตสีๆ น่ารักมาก ^^

หลังจากทานกลางวันอิ่ม ไกด์พาเดินชมเกาะ เสาะหาปูไข่
ที่เบลอๆนั่นคือน้องปูไข่ ชอบแอบซ่อนตามโพรง o__O
หลังจากเดินดูปูไข่ ใครที่ชอบถ่ายรูปก็จัดเลย มีเวลาให้นานอยู่ ส่วนเราที่เมาเรือและเพลียจากการเดินทาง ขอนั่งพักนิ่งๆดีกว่า 55 เจอเปลญวณเข้าไปนี่หลับเลยอ่ะ ของใครไม่รู้  o__O




หลังจากนั้นก็มุ่งหน้าสู่หมู่เกาะสุรินทร์คะ จากตาชัยไปใช้เวลาไม่นานมากคะ ถึงเกาะประมาณสามสี่โมงเย็น ได้เวลาพักผ่อนแล้ววว เย่!!

จากจุดที่เรือจอด ต้องเดินอีกประมาณ 200 เมตรจะถึงชายหาดอีกฝั่งนึง ซึ่งจะเป็นบริเวณที่ทำงานอุทยานและที่พักของเราคะ
เดินผ่านแมกไม้ชิวๆ เย็นๆ 
ต้นไม้นี้อยู่ระหว่างทาง เห็นแล้วสะพรึงยังไงไม่รู้ ><


เต้นท์ที่พักจะแบ่งเป็นโซน โซนแรกๆ จะเป็นพื้นที่ของคนที่เช่าเต้นท์อุทยาน (เต้นท์ลายพราง) ของเราเป็นทัวร์ ก็จะเดินเลยไปอีกนิดนึง เต้นท์จะเริ่มกางเรียงริมหาดเป็นแถวๆ แถวแรกจะอยู่เลียบชายหาดทั้งแนว แถวที่สองก็ขยับเข้าไปในแผ่นดิน
กลุ่มเต็นท์ลายพรางของอุทยาน
สีฟ้าๆนั่นเป็นเต็นท์ของเอกชน
ช่วงที่เราไปคนไม่เยอะ มีแถวสองแค่สี่ห้าเต็นท์ นั่งที่เต็นท์มองทะเลเพลินๆ ลมโกรกมาก เวลานอนจะได้ยินเสียงคลื่นซัดเพลินดีเหมือนกัน ^^
อาหารเย็นมื้อแรกบนเกาะ มีกับข้าวมื้อละ 3-4 อย่าง เติมได้ตลอด อร่อย  รสชาติกลางๆ ไม่เผ็ด แอบรู้มาว่ากุ๊กคนเดิมที่ชอบทำอาหารใต้ไม่อยู่เลยไม่ได้สัมผัสอาหารใต้แท้ๆ 


เต้นท์ที่ได้พักค่อนข้างใหญ่สำหรับสองคน อุปกรณ์เครื่องนอนมีพร้อม แต่ตอนกลางคืนปิดตาข่ายไว้ลมไม่เข้าเต็นท์ ก็แอบร้อนนิดนึง ดีที่คุณแฟนเช่าพัดลมพกพามาด้วยก็ทำให้ข้างในพอมีลมพัดบ้างเล็กๆ (เล็กน้อยมาก) แต่ช่วงที่ลมพัดแรงๆดึกๆ หรือเช้ามืดก็เย็นนะนอนสบาย
ภาพชายหาดที่พัก ถ่ายจากบริเวณกางเต็นท์
และเนื่องจากว่ามันเป็นเกาะห่างไกลชายฝั่ง เราจึงต้องประหยัดไฟ ไฟทางเดินจะเปิดถึงสามทุ่มเท่านั้นคะ หลังเวลานั้นจะมืดตึดตื้อเลย o__O ถามว่ากลัวมั้ย กลัวนะ 555


วันที่สอง



ตื่นเช้ามาเดินชิลๆ ก่อนทานอาหารเวลาประมาณ 7.30 น.
ไกด์นัดขึ้นเรือประมาณ 9.00 น. เพื่อไปดำน้ำตื้นรอบๆ หมู่เกาะสุรินทร์

วันนี้คุณแฟนสู้ตาย ไม่เมาเรือแว้วว
คนขับเรือของเราเป็นชาวมอแกน เขาพูดไรเราไม่รู้เรื่อง แต่เราพูดเขาฟังรู้เรื่องนะ

ภาพจากกล้องอีกตัวนึง เลนส์มันไวน์มากกกกกกก ไม่เห็นปลาเลย 555 แต่ของจริงสวยมากขอบอก ยังกับไปว่ายน้ำในตู้ปลา


ตอนเย็นกลับมาที่พักประมาณ 3 โมงกว่าๆ ระหว่างรออาหารเย็น เราเห็นว่ามีหาดใกล้ๆ กับหาดที่เราพักไกด์ก็บอกว่าถ้าน้ำลงมันจะเดินถึงเลย แต่ถ้าน้ำขึ้นก็มีทางเดินผ่านป่าไป ซึ่งหาดนั้นจะเห็นพระอาทิตย์ตกดินตรงช่องเขาพอดี เราก็เลยไปเดินฆ่าเวลาซักหน่อย

จุดเริ่มต้นเส้นทางศึกษาธรรมชาติ
จุดหมายของเราอยู่ตรงโน้นนน

ทางเดินมันก็ไม่ได้ยากมากนะถ้ารองเท้าจะเป็นรองเท้าผ้าใบ -*- แต่บังเอิ๊ญ มันเป็นรองเท้าแตะที่ลื่นปรื้ดๆ ก็เลยไปไม่ถึงจุดหมาย TT

พระอาทิตย์กำลังจะตกดินละนะ
จากทางเดินศึกษาธรรมชาติมองลงไปมีแต่โขดหิน ตกลงไปคงดูไม่จืดนะ


คือแบบ...ต้นไม้สองต้นนี้ใหญ่มากมายนอนแอ้งแม้งขวางทางอยู่ -*-
พอข้ามต้นไม้สองต้นนั้นมาได้ก็มาเจอ...มันอะไรกันเนียะ !!

วันที่ 3
โปรแกรมก็เหมือนเดิม คือดำน้ำบริเวณหมู่เกาะสุรินทร์แต่ไม่ใช่จุดเดิม และที่สำคัญวันนี้เราไม่ได้ไปว่ายน้ำดูปะการัง เราจะไปตามล่าฉลาม 555 ไม่ได้พูดเล่นนะ ก็ได้เห็นฉลามจริงๆ แต่จุดที่ไปดำคลื่นแรงมากและด้วยความกลัวฉลามเลยได้แต่ดูไม่ได้ถ่ายรูปมาด้วย เสียดาย TT มันลอยตัวนิ่งๆ ห่างเราไปไม่มาก แต่ตอนขึ้นฝั่งมาแล้ว ไกด์บอกเราว่า พี่รู้มั้ยมีอีกตัวยว่ายตามพี่อยู่ o__O ช๊อคค่า.....
มันเป็นเพราะเราเหนื่อยว่ายไม่ไหว เลยรั้งท้าย TT
แมวเกาะ 

กลับแล้วจ้า เรือ ออกจากเกาะประมาณ บ่ายโมงกว่า ถึงฝั่งประมาณ 3 โมงกว่า คืนอุปกรณ์และรอกระเป๋าสัมภาระ 
ที่สำนักงานเขาก็มีของฝากประเภท กุ้งเสียบ น้ำพริกที่เขาทำเอง ก็ซื้อติดมือมานิดหน่อย น้ำพริกกุ้งเสียบอร่อยมากจริงๆนะ 



เราจ่ายเพิ่มอีกคนละ 500 เป็นค่ารถตู้ไปส่งที่สนามบินภูเก็ต พอไปถึงมีเวลาเหลือเราก็ฝากสัมภาระไว้ที่สนามบิน แล้วออกมาหาข้าวเย็นกิน จำได้ว่าเคยอ่านรีวิวนึง เขาแนะนำครัวเจ้จอย เดินเลยสนามบินมาจะเจอ เซเว่น ร้านอาหารจะอยู่ฝั่งตรงกันข้าม ก็อร่อยใช้ได้คะ นั่งฆ่าเวลาถึงสองทุ่มก็เดินชิวๆกลับสนามบิน 


จบทริปจ้า


สรุปค่าใช้จ่ายหลัก 8709 บาท / คน 
(รถทัวร์ ขาไป ลิกไนท์ทัวร์ 823 บาท
ค่าทัวร์ สุรินทร์-ตาชัย 3 วัน 2 คืน (ซาบีน่า ทัวร์) 6500 บาท
ค่ารถตู้ขากลับ 500 บาท
ค่าเครื่องบินขากลับ 886 บาท)